Skip to content

การนำ Template มาใช้งานในระบบ Opstella (Global Template)

  1. กรอกลิงก์ gitlab บนช่องที่อยู่ของเว็บไซต์บนเว็บเบราว์เซอร์ ระบบจะปรากฏหน้าจอลงชื่อเข้าสู่ระบบ GitLab

  2. เมื่อเข้าสู่ระบบสำเร็จแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม “Menu” จากนั้นคลิกที่เมนู “Groups” และ คลิกที่เมนูย่อย “Your groups” ดังรูป

troubleShootPipeline

  1. เมื่อเข้าสู่หน้า Group แล้วให้ทำการค้นหา group โดยคนหาด้วยคำว่า “global template”

troubleShootPipeline

  1. เมื่อค้นหาพบให้ทำการกดเลือกเพื่อเข้าสู่ Group

troubleShootPipeline

  1. เมื่อเข้าสู่ Group ให้ทำการกดปุ่ม “New project” เพื่อสร้าง project ที่เก็บ source code template

troubleShootPipeline

  1. หลังจากกดปุ่ม New project จะแสดงหน้าตัวเลือก เพื่อให้เลือกตัวเลือกในการสร้าง project ให้ผู้ใช้ทำการคลิกปุ่ม “Create blank project”

troubleShootPipeline

  1. ระบบจะแสดงหน้าเพื่อให้กรอกข้อมูล project จากนั้นกดปุ่ม “create project”

troubleShootPipeline

หมายเหตุ ชื่อโปรเจคจะนำไปแสดงที่ส่วนของ opstella ในการใช้งานหน้า create component

  1. เมื่อสร้าง project สำเร็จ ระบบจะแสดงดังรูป

troubleShootPipeline

  1. จากนั้นกดเข้าเมนู “Branches” เพื่อทำการสร้าง branch สำหรับจัดทำเป็นเวอร์ชั่นของ source code

troubleShootPipeline

หมายเหตุ สามารถกดเข้าเมนู branch ได้ด้วยอีก 1 วิธีคือการกดเมนูที่ด้านซ้าย เมนู “Repository” จากนั้นเลือก “Branches”

troubleShootPipeline

  1. จากนั้นทำการสร้าง branch ที่เป็น version ของ template

troubleShootPipeline

  1. เมื่อสร้าง branch เสร็จสิ้นระบบจะนำผู้ใช้งานไปที่หน้า project (branch ที่สร้าง)

troubleShootPipeline

  1. จากนั้นให้ผู้ใช้งาน เพิ่ม source code ที่ต้องการทำเป็น template และทำการ push source code ไปที่ repository นี้

  2. เริ่มต้นการ clone เพื่อนำ repository นี้ ไปปรับแต่งเพิ่ม กดที่ปุ่ม “Clone” และทำการคัดลอก url เพื่อทำการ clone

troubleShootPipeline

  1. เปิด terminal (Ubuntu, MacOS) หรือ powershell (windows) และ ทำการพิมพ์คำสั่ง “git clone link” ส่วนของ link นำ link ที่ได้ทำการคัดลอก url มาแทนและกด enter

troubleShootPipeline

troubleShootPipeline

troubleShootPipeline

  1. เมื่อผู้ใช้งานปรับแต่งแก้ไข source code เสร็จเมื่อทำการ push source code เรียบร้อย source code จะถูกเก็บอยู่ที่ repository ใน gitlab

troubleShootPipeline

troubleShootPipeline

  1. การอัพเดตภาพหรือ logo ของ template สามารถเพิ่มรูปได้ที่ branch main โดยชื่อรูปภาพคือ “logo.svg”

troubleShootPipeline

  1. จากนั้นเข้าสู่ระบบ opstella และไปที่หน้า Create Component

troubleShootPipeline

  1. ระบบแสดงหน้า create component จะเห็นได้ว่า template ที่ได้ทำการสร้าง ยังไม่แสดงที่หน้า create component ให้ทำการกดปุ่มเพื่อ sync ข้อมูล

troubleShootPipeline

troubleShootPipeline

  1. เมื่อระบบทำการ sync ข้อมูลสำเร็จ ระบบจะแสดง template ที่ผู้ใช้งานสร้างดังภาพ

troubleShootPipeline

We build Enterprise Platform Engineering to digitalized transform your organization into a DevSecOps culture.